PR

@@ในความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ที่ปรากฎเป็น"ข่าว"และ"ไม่เป็นข่าว"พยายามสแกนย่นย่อมานำเสนอและเป็นไว้เป็นฐานข้อมูลสังเคราะห์สถานการณ์ ที่นี่ "ข่าวที่ไม่เป็นข่าว"

วันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2557

วิกฤติ การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า


การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า ...... วิกฤติหนักจากฝีมือ ของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ส่งดร.เคโระเข้ามาพร้อมป้าอลิสซาเบธ เข้ามาขยำให้เละ ทุบหุ้น ดันแอร์เอเซียผงาด เคยเตือนตั้งแต่แรก เรื่องแผนชั่ว เตรียมขายทิ้งให้ทุนสิงคโปร์ จนถึงตอนนี้ ยังไม่มีการเอาผิดดร..เคโระ ม่ายเข้าใจ ยังสุขสบายดี มีตำแหน่ง หย่ายโต แล้วที่นางยกเช่าเหมาลำ 50 กว่าเที่ยว ไปเที่ยวตอแหลต่างประเทศ เคลียร์บัญชีหนี้ หรือยัง

ลุงตู่สั่งตั้ง ทีมฟื้นฟูการบินไทย เร่งดำเนินการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อทบทวน กำหนดยุทธศาสตร์ และปรับโครงสร้างธุรกิจของ THAI ให้สามารถแข่งขันได้ในระยะยาว หลังถูกซุปเปอร์บอร์ด ตีกลับมา ดิ้นแก้ปัญหาสภาพคล่อง จ่อขอกู้ออมสิน 7 พันล้าน และกู้ผ่านคลังอีก 2 หมื่นล้านบาท จ่ายค่าจัดหาเครื่องบิน ล่วงหน้า หากคลัง–ออมสินไม่ให้กู้ ผุดแผน 2 กู้เครดิตไลน์จากสถาบันการเงิน 5 แห่ง ราว 19,000 ล้านบาท แต่แนวทางนี้ จะสร้างภาระต้นทุนการเงินให้บริษัทมาก เพราะอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูง ถึง 4% สูงกว่าต้นทุนดอกเบี้ยกู้ยืม ปัจจุบันของบริษัทที่อยู่ในอัตรา 0.25% เท่านั้น

นายอำพน ประธานบอร์ด และนายสรจักร DD อ้างขาดทุน เพราะอุตสาหกรรมการบิน มีการแข่งขันสูง ฟังดูไม่เป็นเหตุเป็นผล ในยุคของ ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ทำกำไรได้ แต่ ดร.เคโระ ใช้อำนาจบอร์ดเลิกจ้าง ผู้บริหารทำกำไรให้ บริษัทอ้างว่าสื่อสารกันไม่ได้ ปลายปี 55 ได้สรจักรเข้ามาแทน พอสื่อสารกับประธาน จากที่เคยได้กำไรกลับขาดทุนทันตาเห็น

ปัญหาการขาดทุน ส่วนหนึ่งมาจาก การบินไทย คือมีภาระพิเศษต้องดูแลรักษา เครื่องบินแอร์บัส A 340-500 จำนวน 4 ลำ ยุคทักษิณซื้อมา ให้บริการเส้นทางบินตรงกรุงเทพฯ- นิวยอร์ก ปี 2548 แต่หลังจากเปิดบินได้ประมาณ 3 ปี ต้องยกเลิกให้บริการ เพราะว่าประสบปัญหาขาดทุนต่อเนื่องกว่า 7 พันล้านบาท ที่ผ่านมาการบินไทย พยายามขายเครื่องบินทั้ง 4 ลำ ขึ้นป้ายขายลำละ 66 ล้านดอลลาร์ แต่จนถึงขณะนี้ยังไม่สามารถขายได้ "บอร์ดไม่กล้าอนุมัติขาย เพราะราคาขายใน ตลาดเครื่องบินมือสอง ลดลงกว่า 50% ของมูลค่า ตอนซื้อมาลำละ 55.75 ล้านดอลลาร์ มีผู้ขอซื้อเหมือนกัน ให้ราคา 23 ล้านดอลลาร์ ปัจจุบันจอดทิ้งไว้ ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยเครื่องบิน 3 ลำแรก ยังคงมีภาระผูกพัน ทางทางการเงินอยู่ เพราะจัดหาโดยวิธี Financial Lease

ส่วนกรณีไม่ขายเครื่องบิน การบินไทย ต้องทยอยรับรู้ผล ขาดทุนจากการด้อยค่าปีละกว่า 1.3 พันล้านบาท เพื่อให้มูลค่าเครื่องบิน เป็นศูนย์ และ Write off จากงบดุล ณ สิ้นปี 2561 รวมเป็นผลขาดทุนจาก การด้อยค่า 6.8 พันล้านบาท

แนวทางที่ดีที่สุด คือ ต้องกล้าตัดสินใจขาย หากยังเก็บไว้มูลค่า จะลดลงต่อเนื่อง เพราะไม่มีผู้สนใจซื้อ ล่าสุด สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส ได้ปรับปรุงเครื่องรุ่นนี้ ให้เป็นชั้นธุรกิจทั้งลำ แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ต้องขายคืนผู้ผลิตแลก กับการซื้อเครื่องรุ่นใหม่ที่ใช้งานได้คุ้มค่ากว่า

ผลดำเนินการออกมา เป็นตัวแดงอย่าไปโทษพนักงาน ชี้นิ้วไปที่ผู้บริหาร โดยเฉพาะบอร์ด ทรงอำนาจมหาศาล แตกต่างจากบอร์ด รัฐวิสาหกิจอื่น ที่ทำกำไร ยกตัวอย่างปตท. บอร์ดและประธานบอร์ด เพียงกำกับดูแลนโยบาย ไม่ลงมาจุ้นจ้านให้ขบวนการปฏิบัติงานเสีย ยิ่งบอร์ดมาตามใบสั่งการเมือง ใช้อำนาจทางการเมือง ที่เกี่ยวข้องรายได้ และงานจัดซื้อจัดจ้าง หลายหมื่นล้านบาท !!!!!

การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า ...... วิกฤติหนักจากฝีมือ ของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ส่งดร.เคโระเข้ามาพร้อมป้าอลิสซาเบธ  เข้ามาขยำให้เละ ทุบหุ้น  ดันแอร์เอเซียผงาด เคยเตือนตั้งแต่แรก เรื่องแผนชั่ว เตรียมขายทิ้งให้ทุนสิงคโปร์ จนถึงตอนนี้ ยังไม่มีการเอาผิดดร..เคโระ ม่ายเข้าใจ ยังสุขสบายดี มีตำแหน่ง หย่ายโต  แล้วที่นางยกเช่าเหมาลำ 50 กว่าเที่ยว  ไปเที่ยวตอแหลต่างประเทศ เคลียร์บัญชีหนี้ หรือยัง  

ลุงตู่สั่งตั้ง ทีมฟื้นฟูการบินไทย  เร่งดำเนินการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อทบทวน กำหนดยุทธศาสตร์ และปรับโครงสร้างธุรกิจของ THAI ให้สามารถแข่งขันได้ในระยะยาว หลังถูกซุปเปอร์บอร์ด ตีกลับมา ดิ้นแก้ปัญหาสภาพคล่อง จ่อขอกู้ออมสิน 7 พันล้าน และกู้ผ่านคลังอีก 2 หมื่นล้านบาท จ่ายค่าจัดหาเครื่องบิน ล่วงหน้า หากคลัง–ออมสินไม่ให้กู้ ผุดแผน 2 กู้เครดิตไลน์จากสถาบันการเงิน 5 แห่ง ราว 19,000 ล้านบาท แต่แนวทางนี้ จะสร้างภาระต้นทุนการเงินให้บริษัทมาก เพราะอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูง ถึง 4% สูงกว่าต้นทุนดอกเบี้ยกู้ยืม ปัจจุบันของบริษัทที่อยู่ในอัตรา 0.25% เท่านั้น 

นายอำพน  ประธานบอร์ด และนายสรจักร DD  อ้างขาดทุน เพราะอุตสาหกรรมการบิน มีการแข่งขันสูง ฟังดูไม่เป็นเหตุเป็นผล  ในยุคของ ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ทำกำไรได้  แต่ ดร.เคโระ ใช้อำนาจบอร์ดเลิกจ้าง ผู้บริหารทำกำไรให้ บริษัทอ้างว่าสื่อสารกันไม่ได้ ปลายปี 55 ได้สรจักรเข้ามาแทน พอสื่อสารกับประธาน จากที่เคยได้กำไรกลับขาดทุนทันตาเห็น
 
ปัญหาการขาดทุน ส่วนหนึ่งมาจาก การบินไทย คือมีภาระพิเศษต้องดูแลรักษา เครื่องบินแอร์บัส A 340-500 จำนวน 4 ลำ ยุคทักษิณซื้อมา  ให้บริการเส้นทางบินตรงกรุงเทพฯ- นิวยอร์ก ปี 2548 แต่หลังจากเปิดบินได้ประมาณ 3 ปี ต้องยกเลิกให้บริการ เพราะว่าประสบปัญหาขาดทุนต่อเนื่องกว่า 7 พันล้านบาท ที่ผ่านมาการบินไทย พยายามขายเครื่องบินทั้ง 4 ลำ ขึ้นป้ายขายลำละ 66 ล้านดอลลาร์ แต่จนถึงขณะนี้ยังไม่สามารถขายได้  "บอร์ดไม่กล้าอนุมัติขาย   เพราะราคาขายใน ตลาดเครื่องบินมือสอง ลดลงกว่า 50% ของมูลค่า ตอนซื้อมาลำละ 55.75 ล้านดอลลาร์  มีผู้ขอซื้อเหมือนกัน  ให้ราคา 23 ล้านดอลลาร์  ปัจจุบันจอดทิ้งไว้ ที่ท่าอากาศยานดอนเมือง โดยเครื่องบิน 3 ลำแรก ยังคงมีภาระผูกพัน ทางทางการเงินอยู่ เพราะจัดหาโดยวิธี Financial Lease

ส่วนกรณีไม่ขายเครื่องบิน การบินไทย ต้องทยอยรับรู้ผล ขาดทุนจากการด้อยค่าปีละกว่า 1.3 พันล้านบาท เพื่อให้มูลค่าเครื่องบิน เป็นศูนย์ และ Write off จากงบดุล ณ สิ้นปี 2561 รวมเป็นผลขาดทุนจาก การด้อยค่า 6.8 พันล้านบาท  

แนวทางที่ดีที่สุด คือ ต้องกล้าตัดสินใจขาย หากยังเก็บไว้มูลค่า จะลดลงต่อเนื่อง เพราะไม่มีผู้สนใจซื้อ ล่าสุด สิงคโปร์ แอร์ไลน์ส ได้ปรับปรุงเครื่องรุ่นนี้ ให้เป็นชั้นธุรกิจทั้งลำ แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ต้องขายคืนผู้ผลิตแลก กับการซื้อเครื่องรุ่นใหม่ที่ใช้งานได้คุ้มค่ากว่า 

ผลดำเนินการออกมา เป็นตัวแดงอย่าไปโทษพนักงาน ชี้นิ้วไปที่ผู้บริหาร โดยเฉพาะบอร์ด ทรงอำนาจมหาศาล แตกต่างจากบอร์ด รัฐวิสาหกิจอื่น ที่ทำกำไร ยกตัวอย่างปตท. บอร์ดและประธานบอร์ด เพียงกำกับดูแลนโยบาย ไม่ลงมาจุ้นจ้านให้ขบวนการปฏิบัติงานเสีย ยิ่งบอร์ดมาตามใบสั่งการเมือง ใช้อำนาจทางการเมือง ที่เกี่ยวข้องรายได้ และงานจัดซื้อจัดจ้าง หลายหมื่นล้านบาท !!!!!

ไม่มีความคิดเห็น: