-ดร. สุทัศน์ วีสกุล มองว่าในปัจจุบันมีการรายงานสถานการณ์น้ำจากหลากหลายหน่วยงาน แต่สิ่งที่ขาด
อยู่ตอนนี้คือ ทีมวิเคราะห์ท้องถิ่น ที่จะนำข้อมูลจากส่วนกลางไปเสริมกับข้อมูลท้องถิ่นแล้ววิเคราะห์ ประ
เมิน เพื่อขยายไปสู่การเตือนภัยในพื้นที่ต่างๆ ได้อย่างเฉพาะเจาะจง
-ดร. ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ มองว่าเหตุการณ์น้ำท่วมครั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงระบบการเตือนภัยที่ล้มเหลว
-ดร. ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ มองว่าเหตุการณ์น้ำท่วมครั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงระบบการเตือนภัยที่ล้มเหลว
ของกรมชลประทาน เนื่องจากไม่มีแผนรับมือภัยพิบัติจากเขื่อนที่ชัดเจน ขณะที่ประเทศไทยมีเขื่อนกว่า
4,000 แห่งทั่วประเทศ
-ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา มองว่ายังเร็วไปที่จะวิเคราะห์และถอดบทเรียนจากน้ำท่วมคราวนี้ พร้อม
-ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา มองว่ายังเร็วไปที่จะวิเคราะห์และถอดบทเรียนจากน้ำท่วมคราวนี้ พร้อม
ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีสมาธิในการทำงานแก้ไขปัญหาก่อนดีกว่า
3 วันมาแล้วที่สถานการณ์น้ำท่วมภาคอีสานยังคงเป็นเรื่องที่ต้องจับตามองอย่างต่อเนื่อง แม้ปริมาณ
น้ำฝนจะลดลงแล้ว แต่ในหลายพื้นที่ยังคงได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะใน 12 จังหวัด ที่ยังคงมีปริมาณน้ำ
ท่วมขังรอการระบายลงแม่น้ำอีกเป็นจำนวนมาก
ในช่วงที่ผ่านมาเราได้เห็นความพยายามช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมครั้งนี้จาก
หน่วยงานต่างๆ ซึ่งพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ขอบคุณทุกภาคส่วนทั้งเจ้าหน้าที่ของ
รัฐ และภาคเอกชน ที่ร่วมมือร่วมใจกันอย่างไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำ
ท่วมครั้งนี้

ขณะเดียวกันก็ออกตัวอย่างชัดเจนว่าสถานการณ์น้ำท่วมที่เกิดขึ้นเป็นภัยธรรมชาติอย่างแท้จริง ต่าง
จากเหตุการณ์น้ำท่วมเมื่อปี 2554 ที่เกิดจากการบริหารจัดการที่ผิดพลาด
นำมาสู่คำถามว่า จริงหรือไม่ที่น้ำท่วมครั้งนี้เป็นฝีมือของภัยธรรมชาติเพียงอย่างเดียว หรือแท้จริงแล้ว
การบริหารจัดการก็อาจจะมีส่วนเช่นกัน

ภัยธรรมชาติที่เกินรับมือ
สำหรับสถานการณ์น้ำท่วมล่าสุดจากข้อมูลของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระบุว่าจากพื้นที่
เกิดอุทกภัยและน้ำไหลหลาก รวม 42 จังหวัด ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้ว 30 จังหวัด ยังคงมีสถาน
การณ์ 12 จังหวัด ได้แก่ สกลนคร ร้อยเอ็ด เพชรบูรณ์ นครราชสีมา กาฬสินธุ์ ยโสธร มุกดาหาร พิจิตร
พระนครศรีอยุธยา อำนาจเจริญ อุบลราชธานี และหนองคาย
เกิดอุทกภัยและน้ำไหลหลาก รวม 42 จังหวัด ปัจจุบันสถานการณ์คลี่คลายแล้ว 30 จังหวัด ยังคงมีสถาน
การณ์ 12 จังหวัด ได้แก่ สกลนคร ร้อยเอ็ด เพชรบูรณ์ นครราชสีมา กาฬสินธุ์ ยโสธร มุกดาหาร พิจิตร
พระนครศรีอยุธยา อำนาจเจริญ อุบลราชธานี และหนองคาย
ส่วนในรายงานสรุปสถานการณ์น้ำประจำวันของกรมชลประทานระบุว่า สกลนครยังคงมีน้ำท่วมขังใน
อำเภอเมือง ระดับน้ำสูง 1.50 เมตร ขณะที่กาฬสินธุ์ยังมีน้ำท่วมในอำเภอเมือง ยางตลาด กมลาไสย
ฆ้องชัย และร่องคำ รวมพื้นที่ประมาณ 59,000 ไร่ เช่นเดียวกับมหาสารคามที่มีน้ำท่วมในเขตชลประทาน
33,000 ไร่ และร้อยเอ็ด ใน อ.เสลภูมิ ที่มีน้ำท่วมในพื้นที่ลุ่มต่ำติดริมน้ำอีก 15,000 ไร่ ซึ่งขณะนี้กำลัง
เร่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำเพิ่มเติมเพื่อเร่งระบายน้ำ
อำเภอเมือง ระดับน้ำสูง 1.50 เมตร ขณะที่กาฬสินธุ์ยังมีน้ำท่วมในอำเภอเมือง ยางตลาด กมลาไสย
ฆ้องชัย และร่องคำ รวมพื้นที่ประมาณ 59,000 ไร่ เช่นเดียวกับมหาสารคามที่มีน้ำท่วมในเขตชลประทาน
33,000 ไร่ และร้อยเอ็ด ใน อ.เสลภูมิ ที่มีน้ำท่วมในพื้นที่ลุ่มต่ำติดริมน้ำอีก 15,000 ไร่ ซึ่งขณะนี้กำลัง
เร่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำเพิ่มเติมเพื่อเร่งระบายน้ำ

ดร. สุทัศน์ วีสกุล ผู้อำนวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
กล่าวถึงภาพรวมของสถานการณ์น้ำท่วมในเวลานี้ว่า ผลจากพายุเซินกาทำให้เกิดฝนตกหนักอย่างต่อ
เนื่อง 2-3 วัน โดยเฉพาะในพื้นที่ 3 ลุ่มแม่น้ำหลักของประเทศ คือ ลุ่มน้ำป่าสัก ลุ่มน้ำโขง และลุ่มน้ำชี
ที่มีปริมาณฝนเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมที่ตัวเมืองเพชรบูรณ์ สกลนคร และอีกหลายจังหวัดที่
อยู่ในลุ่มน้ำโขง
กล่าวถึงภาพรวมของสถานการณ์น้ำท่วมในเวลานี้ว่า ผลจากพายุเซินกาทำให้เกิดฝนตกหนักอย่างต่อ
เนื่อง 2-3 วัน โดยเฉพาะในพื้นที่ 3 ลุ่มแม่น้ำหลักของประเทศ คือ ลุ่มน้ำป่าสัก ลุ่มน้ำโขง และลุ่มน้ำชี
ที่มีปริมาณฝนเป็นจำนวนมาก ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมที่ตัวเมืองเพชรบูรณ์ สกลนคร และอีกหลายจังหวัดที่
อยู่ในลุ่มน้ำโขง
โดยเฉพาะสกลนครที่มีน้ำท่วมหนักมีสาเหตุมาจาก 2 ปัจจัยหลัก คือปริมาณน้ำฝนที่ตกหนักถึง 254
มิลลิเมตร ประกอบกับมีน้ำจากเทือกเขาภูพาน ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือไปประมาณ 15 กิโลเมตร
และมีฝนตกหนักถึง 100 มิลลิเมตร ทำให้สกลนครกลายเป็นพื้นที่รับน้ำไปเต็มๆ เมื่อบวกกับการที่ตัวเมือง
มีการพัฒนา ส่งผลให้เส้นทางน้ำตามธรรมชาติไม่ชัดเจน สุดท้ายจึงไม่สามารถระบายน้ำได้ทัน
มิลลิเมตร ประกอบกับมีน้ำจากเทือกเขาภูพาน ซึ่งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือไปประมาณ 15 กิโลเมตร
และมีฝนตกหนักถึง 100 มิลลิเมตร ทำให้สกลนครกลายเป็นพื้นที่รับน้ำไปเต็มๆ เมื่อบวกกับการที่ตัวเมือง
มีการพัฒนา ส่งผลให้เส้นทางน้ำตามธรรมชาติไม่ชัดเจน สุดท้ายจึงไม่สามารถระบายน้ำได้ทัน
แต่ปัจจุบันสถานการณ์ในสกลนครถือว่าดีขึ้นมากแล้ว เพราะระดับน้ำลดลงอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ฝนเริ่ม
ลดปริมาณลงเรื่อยๆ ที่ต้องทำตอนนี้คือเร่งระบายน้ำจากปริมาณฝนเมื่อ 2-3 วันก่อนเท่านั้น ส่วนหลังจาก
นี้ไปจนถึงกลางเดือนสิงหาคมยังไม่มีสัญญาณของพายุที่จะเข้าสู่ประเทศไทย คาดว่าสถานการณ์น่าจะ
คล้ายกับปี 2542 ที่มีดีเปรสชัน 2 ลูก แต่ไม่เข้าไทย
ลดปริมาณลงเรื่อยๆ ที่ต้องทำตอนนี้คือเร่งระบายน้ำจากปริมาณฝนเมื่อ 2-3 วันก่อนเท่านั้น ส่วนหลังจาก
นี้ไปจนถึงกลางเดือนสิงหาคมยังไม่มีสัญญาณของพายุที่จะเข้าสู่ประเทศไทย คาดว่าสถานการณ์น่าจะ
คล้ายกับปี 2542 ที่มีดีเปรสชัน 2 ลูก แต่ไม่เข้าไทย

“ประเด็นหลักคือพายุเซินกา ถือเป็นพายุลูกแรกในรอบ 2-3 ปีนี้ที่เข้ามาถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศไทย และสลายพลังงานที่ประเทศไทย เพราะฉะนั้นถึงแม้พายุลูกนี้จะสลายพลังงานไปแล้ว แต่ก็
วนเวียนอยู่ในประเทศไทยนาน เพราะมีขนาดใหญ่ และเคลื่อนที่ช้า ทำให้ปริมาณฝนสะสมมีสูง”
ประเทศไทย และสลายพลังงานที่ประเทศไทย เพราะฉะนั้นถึงแม้พายุลูกนี้จะสลายพลังงานไปแล้ว แต่ก็
วนเวียนอยู่ในประเทศไทยนาน เพราะมีขนาดใหญ่ และเคลื่อนที่ช้า ทำให้ปริมาณฝนสะสมมีสูง”
ดังนั้นเมื่อให้วิเคราะห์ว่าปัจจัยไหนมีผลมากกว่ากันระหว่างภัยธรรมชาติ กับการบริหารจัดการ
ดร. สุทัศน์ จึงมองว่าภัยธรรมชาติครั้งนี้เป็นเรื่องใหญ่ที่ยากจะรับมือ
ดร. สุทัศน์ จึงมองว่าภัยธรรมชาติครั้งนี้เป็นเรื่องใหญ่ที่ยากจะรับมือ
“โดยสรุปคือครั้งนี้ฝนตกเยอะมาก 254 มิลลิเมตรถือว่าไม่ใช่เรื่องปกติ ถึงแม้จะออกแบบระบบป้องกัน
หรือระบายน้ำ แต่ก็คงไม่ได้ใช้ค่านี้ในการออกแบบ ยังไงก็ต้องท่วม เพียงแต่อาจจะท่วมและระบายเร็ว
ขึ้นเท่านั้น”
หรือระบายน้ำ แต่ก็คงไม่ได้ใช้ค่านี้ในการออกแบบ ยังไงก็ต้องท่วม เพียงแต่อาจจะท่วมและระบายเร็ว
ขึ้นเท่านั้น”
แต่ถึงอย่างนั้นจะโทษภัยธรรมชาติอย่างเดียวก็คงไม่ถูกต้อง เพราะการบริหารจัดการที่ดีก็สามารถ
ช่วยบรรเทาสถานการณ์ลงไปได้เช่นกัน
ช่วยบรรเทาสถานการณ์ลงไปได้เช่นกัน
เท่าที่เข้าใจ ผมไม่เคยเห็นเขื่อนไหนมีแผนรับมือกับภัยพิบัติจากเขื่อน ไม่ว่าจะเป็นน้ำล้นสันเขื่อน หรือเขื่อนวิบัติ อย่าลืมว่าประเทศไทยมีเขื่อนขนาดใหญ่ 33 แห่ง เขื่อนขนาดกลาง 367 แห่ง และเขื่อนขนาดเล็กอีก 4,000 แห่ง ต่อไปมีพายุเกิดขึ้นที่ไหน เขื่อนเหล่านี้ก็จะมีความเสี่ยงทั้งหมด

มีข้อมูล แต่ขาดการวิเคราะห์ จุดอ่อนการจัดการที่ต้องแก้ไข
ในปัจจุบันมีการรายงานสถานการณ์น้ำจากหลากหลายหน่วยงาน เช่น กรมชลประทาน กรมทรัพยากร
น้ำ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ
มหาชน) หรือ GISTDA หรือแม้แต่สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตรเอง แสดงให้เห็นว่ามี
ข้อมูลจากส่วนกลางเป็นจำนวนมากที่จะนำไปสู่การเตือนภัยอย่างทันท่วงทีกับประชาชนได้
น้ำ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ
มหาชน) หรือ GISTDA หรือแม้แต่สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตรเอง แสดงให้เห็นว่ามี
ข้อมูลจากส่วนกลางเป็นจำนวนมากที่จะนำไปสู่การเตือนภัยอย่างทันท่วงทีกับประชาชนได้
แต่สิ่งที่ขาดอยู่ตอนนี้คือสิ่งที่ ดร. สุทัศน์เรียกว่า ‘ทีมวิเคราะห์ท้องถิ่น’ ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากใน
การป้องกันสถานการณ์น้ำท่วมที่จะเกิดขึ้นครั้งต่อๆ ไป
การป้องกันสถานการณ์น้ำท่วมที่จะเกิดขึ้นครั้งต่อๆ ไป
“ปัจจุบันเรามีข้อมูลจากส่วนกลางที่ส่งไปยังภูมิภาคหรือจังหวัดต่างๆ เป็นจำนวนมาก อย่าง สสนก.
เองก็มีการวิเคราะห์ภาพรวมในทุกๆ เช้า และมีการเตือนภัยไปในระดับจังหวัด แต่สิ่งที่ยังขาดคือทีม
วิเคราะห์ท้องถิ่นที่จะนำข้อมูลเหล่านั้นไปวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ต่อ เพราะนอกจากจะมีความ
รู้เรื่องสภาพพื้นที่แบบเฉพาะเจาะจงแล้ว คนในท้องถิ่นยังจะให้ความเชื่อถือมากกว่าข้อมูลส่วนกลางด้วย
เหมือนคนในบ้านเตือนกันเอง”
เองก็มีการวิเคราะห์ภาพรวมในทุกๆ เช้า และมีการเตือนภัยไปในระดับจังหวัด แต่สิ่งที่ยังขาดคือทีม
วิเคราะห์ท้องถิ่นที่จะนำข้อมูลเหล่านั้นไปวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ต่อ เพราะนอกจากจะมีความ
รู้เรื่องสภาพพื้นที่แบบเฉพาะเจาะจงแล้ว คนในท้องถิ่นยังจะให้ความเชื่อถือมากกว่าข้อมูลส่วนกลางด้วย
เหมือนคนในบ้านเตือนกันเอง”
โดยทีมวิเคราะห์ท้องถิ่นดังกล่าวควรเป็นการทำงานร่วมกันของหลายหน่วยงาน เช่น ปกครองจังหวัด
โยธาธิการจังหวัด ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง
ทำให้การประเมินสถานการณ์ทำได้อย่างชัดเจนมากกว่าการรอข้อมูลจากส่วนกลางเพียงอย่างเดียว
โยธาธิการจังหวัด ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะมีข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง
ทำให้การประเมินสถานการณ์ทำได้อย่างชัดเจนมากกว่าการรอข้อมูลจากส่วนกลางเพียงอย่างเดียว
ซึ่งเมื่อท้องถิ่นทราบข้อมูลจากส่วนกลางแล้วนำไปเสริมด้วยข้อมูลของท้องถิ่นเอง ก็จะทำให้ความ
เข้มข้นในการเตือนภัยมีมากขึ้น นอกจากนี้ทีมวิเคราะห์ดังกล่าวยังสามารถทำหน้าที่วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตในการทำการเกษตรของแต่ละพื้นที่ได้อีกด้วย
เข้มข้นในการเตือนภัยมีมากขึ้น นอกจากนี้ทีมวิเคราะห์ดังกล่าวยังสามารถทำหน้าที่วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตในการทำการเกษตรของแต่ละพื้นที่ได้อีกด้วย
นอกเหนือไปจากการวิเคราะห์ข้อมูลและเตือนภัยแล้ว ดร. สุทัศน์ ยังแนะนำว่าสิ่งที่ควรทำอย่างเร่งด่วน
หลังน้ำลดคือการฟื้นฟูลำน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นระบบการระบายน้ำที่มีประสิทธิภาพอยู่แล้ว
หลังน้ำลดคือการฟื้นฟูลำน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นระบบการระบายน้ำที่มีประสิทธิภาพอยู่แล้ว
“ลำน้ำเหล่านี้เนื่องจากเป็นลำน้ำสาธารณะ บางครั้งอาจจะมีชาวบ้านที่ถือโฉนดพื้นที่ใกล้เคียงก่อสร้าง
บ้านเรือนรุกล้ำเข้าไปจนทำให้ลำน้ำสาธารณะมีขนาดแคบลง ทำให้การระบายน้ำทำได้ไม่ดี ทางที่ดีหลัง
น้ำลดก็ควรมีการสำรวจว่าลำน้ำที่มีอยู่มีจำนวนเท่าไหร่ ใช้ได้ดีเท่าไหร่ มีการรุกล้ำเท่าไหร่ แล้วปรับปรุง
ให้มีสภาพใช้งานได้ เรื่องนี้สามารถทำได้ทันที ใช้เงินน้อย แต่ต้องเหนื่อยหน่อย เพราะต้องไปรบกับชาว
บ้าน”
บ้านเรือนรุกล้ำเข้าไปจนทำให้ลำน้ำสาธารณะมีขนาดแคบลง ทำให้การระบายน้ำทำได้ไม่ดี ทางที่ดีหลัง
น้ำลดก็ควรมีการสำรวจว่าลำน้ำที่มีอยู่มีจำนวนเท่าไหร่ ใช้ได้ดีเท่าไหร่ มีการรุกล้ำเท่าไหร่ แล้วปรับปรุง
ให้มีสภาพใช้งานได้ เรื่องนี้สามารถทำได้ทันที ใช้เงินน้อย แต่ต้องเหนื่อยหน่อย เพราะต้องไปรบกับชาว
บ้าน”

ระบบเตือนภัยที่ล้มเหลว
นอกจากปริมาณน้ำฝนที่มากกว่าปกติแล้ว วิกฤตน้ำท่วมสกลนครส่วนหนึ่งยังเกิดมาจากคันกั้นนำ้ใน
เขื่อนห้วยทรายขมิ้นที่ชำรุดเสียหาย ทำให้มีปริมาณน้ำบางส่วนไหลลงมาสมทบเข้าท่วมบ้านเรือนของ
ประชาชนด้วย
เขื่อนห้วยทรายขมิ้นที่ชำรุดเสียหาย ทำให้มีปริมาณน้ำบางส่วนไหลลงมาสมทบเข้าท่วมบ้านเรือนของ
ประชาชนด้วย
สำหรับกรณีนี้ ดร.สุทัศน์ มองว่าปริมาณน้ำในเขื่อนที่ไหลทะลักออกมาอาจมีส่วนที่ทำให้น้ำท่วมสูงขึ้น
แต่ไม่น่ามากนักเมื่อเทียบกับปริมาณฝนที่ตกลงมา หลังจากนี้คงต้องวิเคราะห์และคำนวณตัวเลขต่อไปว่า
มีผลมากน้อยแค่ไหน
แต่ไม่น่ามากนักเมื่อเทียบกับปริมาณฝนที่ตกลงมา หลังจากนี้คงต้องวิเคราะห์และคำนวณตัวเลขต่อไปว่า
มีผลมากน้อยแค่ไหน
ขณะที่ ดร. ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม ในฐานะผู้เรียกร้องให้มีการจัดทำแผนรับมือความเสี่ยงภัยพิบัติจากเขื่อนมาโดยตลอดระบุว่า
เหตุการณ์ครั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงระบบการเตือนภัยที่ล้มเหลวของกรมชลประทาน
มหาสารคาม ในฐานะผู้เรียกร้องให้มีการจัดทำแผนรับมือความเสี่ยงภัยพิบัติจากเขื่อนมาโดยตลอดระบุว่า
เหตุการณ์ครั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงระบบการเตือนภัยที่ล้มเหลวของกรมชลประทาน
“ในกรณีนี้คนในท้องถิ่นยืนยันว่าไม่มีการแจ้งเตือนภัยใดๆ ทั้งสิ้น ขนาดเขื่อนชำรุดไปแล้ว น้ำท่วมหนัก กรมชลประทานยังแถลงว่าเขื่อนแค่มีน้ำกัดเซาะ ซึ่งถ้ามีการแจ้งเตือนก่อน ถึงน้ำจะยังท่วมก็จริง แต่ทรัพย์
สิน หรือรถยนต์ของประชาชนก็คงไม่ได้รับความเสียหายขนาดนี้เพราะสามารถขนย้ายได้ทัน”
สิน หรือรถยนต์ของประชาชนก็คงไม่ได้รับความเสียหายขนาดนี้เพราะสามารถขนย้ายได้ทัน”


นอกจากนี้ ดร. ไชยณรงค์ ยังเปรียบเทียบกับกรณีที่เกิดขึ้นกับเขื่อนโอโรวิลล์ ในสหรัฐอเมริกา เมื่อ
เดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ที่เจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าทางน้ำล้น หรือสปิลล์เวย์ของเขื่อนแตกเป็นรูโหว่ขนาด
ใหญ่ และเสี่ยงต่อการพังทลาย ทำให้มีการแจ้งเตือน และอพยพคนอย่างทันท่วงที
เดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ที่เจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าทางน้ำล้น หรือสปิลล์เวย์ของเขื่อนแตกเป็นรูโหว่ขนาด
ใหญ่ และเสี่ยงต่อการพังทลาย ทำให้มีการแจ้งเตือน และอพยพคนอย่างทันท่วงที
“เหตุการณ์นั้นเราจะเห็นเจ้าหน้าที่ในเครื่องแบบเต็มถนน ปิดถนนหลวง ปิดเส้นทางสัญจร สั่งอพยพคน
ไปอยู่ในที่ปลอดภัย บอกว่ามีเส้นทางไหนบ้างที่จะสัญจรได้โดยไม่เป็นอันตราย จนกว่าจะมั่นใจว่าแก้
ปัญหาได้แล้ว จึงอพยพคนกลับ แต่เราไม่ได้ทำแบบนั้น ถ้าทำแบบนั้นเราคงไม่เห็นรถยนต์จมอยู่ใต้น้ำเยอ
ขนาดนี้แน่นอน
ไปอยู่ในที่ปลอดภัย บอกว่ามีเส้นทางไหนบ้างที่จะสัญจรได้โดยไม่เป็นอันตราย จนกว่าจะมั่นใจว่าแก้
ปัญหาได้แล้ว จึงอพยพคนกลับ แต่เราไม่ได้ทำแบบนั้น ถ้าทำแบบนั้นเราคงไม่เห็นรถยนต์จมอยู่ใต้น้ำเยอ
ขนาดนี้แน่นอน
“เท่าที่เข้าใจ ผมไม่เคยเห็นเขื่อนไหนมีแผนรับมือกับภัยพิบัติจากเขื่อน ไม่ว่าจะเป็นน้ำล้นสันเขื่อน
หรือเขื่อนวิบัติ อย่าลืมว่าประเทศไทยมีเขื่อนขนาดใหญ่ 33 แห่ง เขื่อนขนาดกลาง 367 แห่ง และเขื่อน
ขนาดเล็กอีก 4,000 แห่ง ต่อไปมีพายุเกิดขึ้นที่ไหน เขื่อนเหล่านี้ก็จะมีความเสี่ยงทั้งหมด แล้วมันจะเกิด
อะไรขึ้นถ้าไม่มีแผนการรับมือที่ถูกต้อง” ดร. ไชยณรงค์ ตั้งคำถามต่อกรมชลประทานในฐานะผู้มีหน้าที่
ดูแลเขื่อนเป็นจำนวนมาก
หรือเขื่อนวิบัติ อย่าลืมว่าประเทศไทยมีเขื่อนขนาดใหญ่ 33 แห่ง เขื่อนขนาดกลาง 367 แห่ง และเขื่อน
ขนาดเล็กอีก 4,000 แห่ง ต่อไปมีพายุเกิดขึ้นที่ไหน เขื่อนเหล่านี้ก็จะมีความเสี่ยงทั้งหมด แล้วมันจะเกิด
อะไรขึ้นถ้าไม่มีแผนการรับมือที่ถูกต้อง” ดร. ไชยณรงค์ ตั้งคำถามต่อกรมชลประทานในฐานะผู้มีหน้าที่
ดูแลเขื่อนเป็นจำนวนมาก

ขณะที่ ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ
ภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน) หรือ GISTDA มองว่าสถานการณ์ขณะนี้ยังเร็วไปที่จะวิเคราะห์ถึงปัญหา
และบทเรียน เพราะสิ่งที่ต้องเร่งทำตอนนี้คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับ
ความเดือดร้อน
ภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน) หรือ GISTDA มองว่าสถานการณ์ขณะนี้ยังเร็วไปที่จะวิเคราะห์ถึงปัญหา
และบทเรียน เพราะสิ่งที่ต้องเร่งทำตอนนี้คือการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับ
ความเดือดร้อน
“ตอนนี้หน่วยงานต่างๆ เขากำลังทำงานกันอยู่ เราจะไปวิจารณ์หรือออกความเห็นตอนนี้คงไม่เหมาะ
เพราะพูดไปก็ยังทำอะไรไม่ได้ ต้องรอให้เหตุการณ์จบก่อน ถึงจะมาวิเคราะห์บทเรียนในระยะยาว ไม่ต้อ
งห่วง เราเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้หมดแล้วว่าน้ำมายังไง ไปยังไง วิเคราะห์ตอนนี้มันผิดที่ ผิดทาง ผิดเวลา
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเขาได้มีสมาธิในการทำงานแก้ไขปัญหาก่อนดีกว่า”
เพราะพูดไปก็ยังทำอะไรไม่ได้ ต้องรอให้เหตุการณ์จบก่อน ถึงจะมาวิเคราะห์บทเรียนในระยะยาว ไม่ต้อ
งห่วง เราเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้หมดแล้วว่าน้ำมายังไง ไปยังไง วิเคราะห์ตอนนี้มันผิดที่ ผิดทาง ผิดเวลา
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเขาได้มีสมาธิในการทำงานแก้ไขปัญหาก่อนดีกว่า”
หลังน้ำลดคราวนี้ยังมีสิ่งที่เราต้องทำอีกมาก นอกจากจะฟื้นฟูพื้นที่ที่ได้รับความเสียหาย และเยียวยา
ผู้ได้รับผลกระทบแล้ว การหันหน้ามาช่วยกันถอดบทเรียนจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็เป็นสิ่งจำเป็นไม่แพ้กัน
โดยเฉพาะถ้าบทเรียนนั้นจะสามารถป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤตลักษณะนี้ในอนาคตได้อีก
ผู้ได้รับผลกระทบแล้ว การหันหน้ามาช่วยกันถอดบทเรียนจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็เป็นสิ่งจำเป็นไม่แพ้กัน
โดยเฉพาะถ้าบทเรียนนั้นจะสามารถป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤตลักษณะนี้ในอนาคตได้อีก