กกต.มีมติให้รัฐบาลใช้เงินจากงบกลาง มาใช้หนี้ค่าข้าวของชาวนา จำนวน 20,000.000,000 ล้านบาท(สองหมื่นล้านบาท)
และกำหนดให้ต้องจัดเงินใช้คืนงบกลางภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2557
สิ่งที่น่าจะทำความเข้าใจคือ
1 งบกลางมีเท่าไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
2 ทำไมต้องกำหนดให้ใช้คืนภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2557
ขออนุญาตทำความเข้าใจตามลำดับดังนี้
1 โครงสร้างของงบกลาง
งบประมาณรายจ่ายงบกลาง
ประจำปี งปม. 2557
(1) มีทั้งสิ้น (บาท)
345,459,000,000
(สามแสนสี่หมื่นห้าพันสี่ร้อยห้าสิบเก้าพันล้านบาท)
(2) แบ่งเป็นรายการคือ
(2)1 ค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากโครงการพระราชดำริ
2,300,000,000
(2)2
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับประมุข ต่างประเทศ
800,000,000
(2)3 ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ พนักงานและลูกจ้างของรัฐ
60,000,000,000
(2)4
เงินชดเชยค่างานก่อสร้าง
1,675,000,000
* (2)5
เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
72,500,000,000
(2)6
เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ
132,277,000,000
(2.)7
เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ
4,740,000,000
(2)8
ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงวุฒิข้าราชการ
6,500,000,000
(2)9
เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิข้าราชการ
15,000,000,000
(2)10
เงินสำรอง เงินสมทบ และ เงินชดเชยของข้าราชการ
48,753,000,000
(2)11
เงิยสมทบของลูกจ้างประจำ
914,000,000
หากพิจารณาจากโครงสร้างงบกลางทั้งหมดแล้ว งบกลางที่จะนำไปชำระหนี้ค่าข้าวได้ คืองบกลางรายการที่(2).5
ได้แก่งบกลางสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ซึ่งมีอยู่ 72,500,000,000 บาท
หากยืมไปใช้ในช่วงเวลาสั้นๆสัก 20,000 ล้านบาท ก็ไม่น่าจะเสี่ยง เพราะทุกปีเงินรายการนี้จะใช้ไม่หมด มีเหลือปลายปีเกือบ 20,000 ล้านบาท เป็นประจำอยู่แล้ว
2
ทำไมต้องกำหนดให้ใช้คืนภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2557
เหตุผล
สิ้นเดือนพฤษภาคมของทุกปี
เป็นวันสุดท้ายของการชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี สมทบกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่กำหนดวันสุดท้ายในวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี
ทำให้เงินคงคลังของรัฐ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี จะมียอดสูง และสภาพคล่อง มากที่สุด หากจะบังคับให้ใช้คืนงบกลางที่นำไปชำระหนี้ค่าข้าวแก่ชาวนาช่วงนี้ จึงเป็นช่วงที่เหมาะสมที่สุด
สิ่งที่ต้องพึงสังวร
ภาษีเงินได้นิติบุคคลของประเทศ เกือบร้อยละ 80 เกิดจากผู้ประกอบการใน กทม. คือสรรพากรพื้นที่ภาค 1,2และ3 คือพระนครเหนือ พระนครใต้ และธนบุรี
จะเป็นการชี้โพรงให้กะรอก หรือบอกกล่าวให้ทราบว่ากะรอกรู้โพลงแล้ว คือ ทราบว่าจะมีการส่งกำลังไปปิดที่ทำการสรรพากรในกทม.ให้หยุดทำงาน
มาตรการนี้จะทำได้ผลประการยังไม่ทราบ แต่ถ้าได้ผล อาจทำให้มาตรการชำระเงินคืนงบกลางอาจมีปัญหา
พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
(อดีตวายุภักษ์ 2)
06-03-57
คืนยืนข้างหลังบางคนเกษียณอายุไปแล้ว บางคนเป็นผู้บริหารชั้นผู้ใหญ่ของ กศ.กค.ในขณะนี้
และกำหนดให้ต้องจัดเงินใช้คืนงบกลางภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2557
สิ่งที่น่าจะทำความเข้าใจคือ
1 งบกลางมีเท่าไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
2 ทำไมต้องกำหนดให้ใช้คืนภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2557
ขออนุญาตทำความเข้าใจตามลำดับดังนี้
1 โครงสร้างของงบกลาง
งบประมาณรายจ่ายงบกลาง
ประจำปี งปม. 2557
(1) มีทั้งสิ้น (บาท)
345,459,000,000
(สามแสนสี่หมื่นห้าพันสี่ร้อยห้าสิบเก้าพันล้านบาท)
(2) แบ่งเป็นรายการคือ
(2)1 ค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากโครงการพระราชดำริ
2,300,000,000
(2)2
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับประมุข ต่างประเทศ
800,000,000
(2)3 ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ พนักงานและลูกจ้างของรัฐ
60,000,000,000
(2)4
เงินชดเชยค่างานก่อสร้าง
1,675,000,000
* (2)5
เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น
72,500,000,000
(2)6
เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ
132,277,000,000
(2.)7
เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ
4,740,000,000
(2)8
ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงวุฒิข้าราชการ
6,500,000,000
(2)9
เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิข้าราชการ
15,000,000,000
(2)10
เงินสำรอง เงินสมทบ และ เงินชดเชยของข้าราชการ
48,753,000,000
(2)11
เงิยสมทบของลูกจ้างประจำ
914,000,000
หากพิจารณาจากโครงสร้างงบกลางทั้งหมดแล้ว งบกลางที่จะนำไปชำระหนี้ค่าข้าวได้ คืองบกลางรายการที่(2).5
ได้แก่งบกลางสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ซึ่งมีอยู่ 72,500,000,000 บาท
หากยืมไปใช้ในช่วงเวลาสั้นๆสัก 20,000 ล้านบาท ก็ไม่น่าจะเสี่ยง เพราะทุกปีเงินรายการนี้จะใช้ไม่หมด มีเหลือปลายปีเกือบ 20,000 ล้านบาท เป็นประจำอยู่แล้ว
2
ทำไมต้องกำหนดให้ใช้คืนภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2557
เหตุผล
สิ้นเดือนพฤษภาคมของทุกปี
เป็นวันสุดท้ายของการชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี สมทบกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่กำหนดวันสุดท้ายในวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี
ทำให้เงินคงคลังของรัฐ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี จะมียอดสูง และสภาพคล่อง มากที่สุด หากจะบังคับให้ใช้คืนงบกลางที่นำไปชำระหนี้ค่าข้าวแก่ชาวนาช่วงนี้ จึงเป็นช่วงที่เหมาะสมที่สุด
สิ่งที่ต้องพึงสังวร
ภาษีเงินได้นิติบุคคลของประเทศ เกือบร้อยละ 80 เกิดจากผู้ประกอบการใน กทม. คือสรรพากรพื้นที่ภาค 1,2และ3 คือพระนครเหนือ พระนครใต้ และธนบุรี
จะเป็นการชี้โพรงให้กะรอก หรือบอกกล่าวให้ทราบว่ากะรอกรู้โพลงแล้ว คือ ทราบว่าจะมีการส่งกำลังไปปิดที่ทำการสรรพากรในกทม.ให้หยุดทำงาน
มาตรการนี้จะทำได้ผลประการยังไม่ทราบ แต่ถ้าได้ผล อาจทำให้มาตรการชำระเงินคืนงบกลางอาจมีปัญหา
พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
(อดีตวายุภักษ์ 2)
06-03-57
คืนยืนข้างหลังบางคนเกษียณอายุไปแล้ว บางคนเป็นผู้บริหารชั้นผู้ใหญ่ของ กศ.กค.ในขณะนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น