PR

@@ในความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ที่ปรากฎเป็น"ข่าว"และ"ไม่เป็นข่าว"พยายามสแกนย่นย่อมานำเสนอและเป็นไว้เป็นฐานข้อมูลสังเคราะห์สถานการณ์ ที่นี่ "ข่าวที่ไม่เป็นข่าว"

วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557

เปิดไส้ใน ปรองดอง นิรโทษกรรม

เปิดไส้ใน! 2 แนวทางเบื้องต้นนิรโทษกรรมฉบับ "กม ธ . ยกร่างรธน."

เขียนวันที่
วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม 2557 เวลา 11:46 น
เขียนโดย
สานักข่าวอิสรา
เปิดไส้ในกม ธ . ยกร่างรธน ชง 2 แนวทางเบื้องต้น "ปรองดอง - นิรโทษกรรม" นิรโทษประชาชนชุมนุมการเมือง 2548-2557 เว้นคดี 112- ฆ่าคนตายหรือนิรโทษทุกฝ่าย 2548-2557 ขีดกรอบ 4 อย่าง
PIC-niratod-11-12-57 1
กลายเป็นประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์กันเกรียวกราวทั้งหน้าสื่อ-หลังม่านในห้วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ภายหลังกรรมาธิการ (กม ธ .) ยกร่างรัฐธรรมนูญปลุกประเด็น "ปรองดอง - นิรโทษกรรม" ขึ้นมาอีกครั้ง
ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายพรรคเพื่อไทย-แกนนำคนเสื้อแดง ที่ออกมาหนุนให้มีการนิรโทษกรรมคู่ขัดแย้ง-ประชาชน ด้านฝ่ายพรรคประชาธิปัตย์-มวลชนนกหวีด ต่างคัดค้านการนิรโทษกรรมดังกล่าวอย่างชัดเจน
ไม่กี่วันที่ผ่านมากม ธ . ยกร่างรัฐธรรมนูญภาค 4 การปฏิรูปและการสร้างความปรองดองหมวด 2 ว่าด้วยการสร้างความปรองดอง สมัยรัฐบาลพล. อ. สุรยุทธ์จุลานนท์อดีตนายกรัฐมนตรีโดยมีวาระการดำรงตำแหน่งราว 5-10 ปี   
โดยระบุเหตุผลว่า สาเหตุข้อพิพาทระหว่างรัฐกับประชาชน ล้วนมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางการเมือง รวมทั้งแนวคิดและการดำเนินนโยบายของพรรคการเมืองที่แตกต่างกัน แบ่งฝักแบ่งฝ่ายกันอย่างชัดเจนจนเกิดการเผชิญหน้า จนกระทั่งเกิดการตอบโต้กันด้วยความรุนแรง
"เพื่อแก้ไขเยียวยา บนความแตกต่างทางความคิด ที่จะส่งผลต่อเสถียรภาพของการเมืองเศรษฐกิจและสังคมของไทยอย่างแท้จริงต่อไป " 
คำถามคือคณะกรรมการเสริมสร้างความปรองดองฯ ในยุคนี้ 10 ปีได้อย่างไรและการนิรโทษกรรมทำ "เพื่อใคร" มี "ใคร" เกี่ยวข้องบ้าง?
สำนักข่าวอิศราwww.isranews.org   นำรายงานสรุปกรอบแนวคิดเบื้องต้นในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของกม ธ ยกร่างฯ ในส่วนของการปรองดอง -. นิรโทษกรรมมานำเสนอดังนี้
การนิรโทษกรรมหรือการล้างมลทิน
เหตุผล เป็นการให้อำนาจของรัฐธรรมนูญ เพื่อดำเนินการคลี่คลายและเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยการกำหนดให้มีการออกกฎหมายว่าด้วยการนิรโทษกรรม หรือล้างมลทินโดยระบุหลักการเงื่อนไขวิธีการผู้มีอำนาจในทางปฏิบัติขอบเขตในการดำเนินการขอบเขตของผลการนิรโทษกรรมหรือล้างมลทิน
การนิรโทษกรรม หมายถึงการลืม แต่ในกระบวนการทางกฎหมายหมายถึง ไม่ต้องรับโทษ หรือบางกรณีเป็นการยกโทษให้ทั้งหมดเสมือนหนึ่งว่ามิเคยต้องโทษนั้นเลยให้ลืมความผิดนั้นเสีย ซึ่งต้องกระทำโดยอำนาจนิติบัญญัติ 
ลักษณะความผิดที่สามารถนิรโทษกรรมได้นั้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ 
1) นิรโทษกรรมทางแพ่ง คือ ไม่ต้องชดใช้สินไหมทดแทน 
2)  ซับซ้อน การนิรโทษกรรมมีผลทางอาญาเพียงใด 
3)  หรือสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลนั้นให้สิ้นไป 
การล้างมลทิน คือการล้างความผิดให้แก่ผู้เพลงต้องโทษหรือเคยเพลงต้องโทษให้พ้นโทษ ไม่เคยถูกลงโทษในความผิดนั้นมาก่อน หรือเนื่องในโอกาสที่เป็นมงคลเช่น ร.ศ. 130 พุทธศักราช 2475 เป็นต้น
ปัจจัยที่ควรคํานึงถึง 
1) ควรจัดให้มีเวทีพูดคุยเจรจาทําความเข้าใจร่วมกันต่อแนวทางการดําเนินการ โดยเริ่มจาก (1) (2) (3) (4) เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมและ (5) นิรโทษกรรมเพื่อนําไปสู่​​การปรองดอง 
2) หรือล้างมลทินต้องมีความชัดเจน 5 กลุ่มประกอบด้วย (1) ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต (2) ผู้ที่ได้รับผลกระทบทางคดี (3) (4) ชุมชนที่ได้รับผลกระทบและ (5) ประชาชนที่เข้าร่วมการชุมนุม 
3) เวลา หรือล้างมลทิน 
4) เช่น การทําบันทึก
แนวทางที่  พ.ศ. 2548 จนถึง พ.ศ. 2557 และผู้กระทําผิดประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 
แนวทางที่  พ.ศ. 2548 จนถึง พ.ศ. 2557
ทั้งหมดนี้คือแผนการเบื้องต้นในการจัดทำนิรโทษกรรม เพื่อสร้างความปรองดอง. - สมาฉันท์ตามที่กม ธ ยกร่างฯ นำเสนอต่อสาธารณชนซึ่งจะถูกใจใครหรือไม่ ก็ต้องถกเถียงกันให้แตกในประเด็นเสียก่อน
ส่วนจะนำไปบังคับใช้เป็นกฎหมาย หรือออกเป็น พ.ร.บ. - พ.ร.ก. ก็ต้องให้สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ไปว่ากันให้ชัดเจนตามกฎหมายต่อไป

ไม่มีความคิดเห็น: