PR

@@ในความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ที่ปรากฎเป็น"ข่าว"และ"ไม่เป็นข่าว"พยายามสแกนย่นย่อมานำเสนอและเป็นไว้เป็นฐานข้อมูลสังเคราะห์สถานการณ์ ที่นี่ "ข่าวที่ไม่เป็นข่าว"

วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

“รัฐวิสาหกิจ เล็กดี รสโต”

12 พฤศจิกายน 2014
ดร วิรไทสันติประภพ
สินทรัพย์รัฐวิสาหกิจ
ไม่แน่ใจว่าคนรุ่นหนุ่มสาวได้ยิน "เล็กดีรสโต" แล้วจะนึกถึงอะไร ห่อด้วยกระดาษสีเงินปนขาว แต่สรรพคุณ "รสโต"
ผมคิดว่า "เล็กดีรสโต" จะเป็นทางออกของภาครัฐวิสาหกิจไทย  ปรับตัวยาก คู่แข่งและสภาวะตลาด เกิดปัญหาสมองไหล  
44 ของรายได้ประชาชาติ (เทียบกับเพียงร้อยละ 35 ในปี 2553) 12 ล้านล้านบาท  และถ้ามองไปในอนาคตแล้ว
 เข้าไปเป็นกรรมการ หรือเปลี่ยนรัฐมนตรีเจ้ากระทรวง มือใครยาวขุดได้ขุดเอา
แม้ว่าในขณะนี้ภาครัฐวิสาหกิจไทยโดยรวมยังมีความสามารถในการส่งกำไรเป็นรายได้ให้รัฐปีละกว่าหนึ่งแสนล้านบาท ภาครัฐวิสาหกิจโดยรวมยังไม่ได้สร้างภาระการคลังเหมือนกับรัฐวิสาหกิจในอีกหลายประเทศ แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่าเงินกำไรที่นำส่งรัฐมีขนาดน้อยมากเมื่อเทียบกับเงินลงทุนที่รัฐบาลได้ใส่เงินเข้าไป รัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่มีความสามารถในการทำกำไรและผลตอบแทนจากการลงทุนต่ำกว่าคู่แข่งภาคเอกชนมาก จะมีเพียงรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้จากสัมปทาน หรือเป็นผู้ผูกขาด (และสามารถกำหนดราคาได้ตามอำเภอใจ) เท่านั้นมีความสามารถในการทำกำไรดีนอกจากนี้ รัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นและเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว หลายแห่งที่เคยมีกำไรกลายเป็นขาดทุน ถ้าไม่ปฏิรูปภาครัฐวิสาหกิจกันอย่างจริงจังแล้ว เงินนำส่งคลังของรัฐวิสาหกิจคงจะลดลงเรื่อยๆ และสักวันหนึ่งภาครัฐวิสาหกิจโดยรวมอาจจะกลายเป็นภาระทางการคลังเหมือนกับในอีกหลายประเทศก็ได้
นอกจากเรื่องความสามารถในการทำกำไรและเงินนำส่งคลังแล้ว และประสิทธิภาพถดถอย
ไม่ว่าจะเป็นคลื่นความถี่สนามบินทางพิเศษท่าเรือหรือการขนส่งระบบราง หรือสร้างฐานสำหรับธุรกิจใหม่ ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง
 ต้องทำหลายอย่าง "เล็กดีรสโต" "เล็กดีรสโต" ได้นั้น
ประการแรก  ถ้าพิจารณากันด้วยใจเปิดกว้างแล้ว มากมายต้องขออนุญาตหลายหน่วยงานไม่คล่องตัว
ประการที่สองต้องแยกหน้าที่กำกับดูแล (ควบคุม) ออกจากรัฐวิสาหกิจ  (ผู้ดำเนินการ) ทำให้การแข่งขันไม่เป็นธรรม ในทางตรงกันข้ามบางรัฐวิสาหกิจที่ไม่โปร่งใส ดังนั้น  และให้บริการเฉพาะที่ตนมีความชำนาญ ไม่ควรขยายธุรกิจใหม่ ๆ ไปเรื่อยตามใจผู้มีอำนาจรัฐ
สำหรับรัฐวิสาหกิจที่มีประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันต่ำ และยังไม่มีผู้ประกอบการภาคเอกชนเข้ามาให้บริการประชาชนอย่างเพียงพอ โจทย์ที่ต้องคิดให้หนักคือควรให้รัฐวิสาหกิจที่ขาดประสิทธิภาพเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการต่อไปหรือไม่ หรือรัฐบาลควรจัดระบบเงินอุดหนุนเพื่อจูงใจให้ผู้ประกอบการเอกชนที่มีประสิทธิภาพเข้ามาดำเนินงานแทน ระบบเงินอุดหนุน (เช่นผ่านการประมูล) จะทำให้เกิดการแข่งขันของผู้ประกอบการภาคเอกชน รัฐบาลทราบภาระที่ต้องอุดหนุนชัดเจนในแต่ละปี และควบคุมคุณภาพการให้บริการได้ง่ายกว่า ต่างจากการที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ดำเนินการเอง ซึ่งจะสร้างภาระการคลังปลายเปิดในระยะยาว
ประการที่สาม  (โดยเฉพาะพวกที่ผูกขาด) และต้องยกเลิกสิทธิประโยชน์ต่างๆ "เล็กดีรสโต" ได้อย่างยั่งยืน
ประการที่สี่ต้องยกระดับระบบบรรษัทภิบาล (บรรษัทภิบาล)  คล้ายกับเทมาเส็กของสิงคโปร์หรือ Khazanah ของมาเลเซีย
ประการสุดท้าย  การประเมินผลและการฝึกอบรมพนักงานอย่างจริงจัง เพราะปัญหาความเทอะทะ
การดำเนินการให้ภาครัฐวิสาหกิจโดยรวมมีขนาดเล็กลงไม่ใช่เรื่องง่ายแต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่ทำไม่ได้ ทิศทางที่ชัดเจนต้องเริ่มจากระดับนโยบายสูงสุดของรัฐบาล จะต้องได้รับการสนับสนุนจากข้าราชการที่เป็นผู้กำกับดูแล (และอาจจะเคยได้รับประโยชน์จากการใช้อำนาจรัฐผ่านรัฐวิสาหกิจ) และที่สำคัญต้องสื่อสารและสร้างการยอมรับให้แก่ผู้บริหารและพนักงานของรัฐวิสาหกิจที่จะได้รับผลกระทบโดยตรง
ภาครัฐวิสาหกิจไทยในวันนี้ยังอยู่ในสถานะที่จัดการได้ แต่ถ้าเราปล่อยให้ภาครัฐวิสาหกิจขยายขนาดเทอะทะเพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสามารถในการแข่งขันถดถอยลงเรื่อยๆ จะยิ่งจัดการยากและจะกลายเป็นปัญหาอันใหญ่หลวงของประเทศในระยะยาวนอกจากจะทำให้รัฐวิสาหกิจ "เล็กดีรสโต" แล้ว ผมนึกไม่ออกว่ามีวิธีอื่นใดบ้างที่จะทำให้รัฐวิสาหกิจตอบโจทย์ประเทศไทยได้อย่างยั่งยืน 
หมายเหตุ : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจฉบับวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557

ไม่มีความคิดเห็น: