PR

@@ในความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ที่ปรากฎเป็น"ข่าว"และ"ไม่เป็นข่าว"พยายามสแกนย่นย่อมานำเสนอและเป็นไว้เป็นฐานข้อมูลสังเคราะห์สถานการณ์ ที่นี่ "ข่าวที่ไม่เป็นข่าว"

วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

รัฐธรรมนูญ ประเด็นล้มล้างการปกครอง


Somlak Hutanuwatr
ประเด็น ล้มล้างการปกครองฯ แก้จุดสำคัญ 3 ประะการ คือ
1 ไม่มีการยุบพรรค
2 ตัดขั้นตอนรับเรื่องออกจากอัยการ
3 พลเมือง "ผู้พบเห็น" สามารถยื่นตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้โดยตรง
ฉบับเดิม 25540
มาตรา ๖๓ บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อ
ล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจในการปกครอง
ประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้
มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรค
หนึ่ง ผู้รู้เห็นการกระทาดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุด
ตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคาร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่ง
การให้เลิกการกระทาดังกล่าว แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการ
ดาเนินคดีอาญาต่อผู้กระทาการดังกล่าว
ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งการให้พรรคการเมืองใด
เลิกกระทาการตามวรรคสอง ศาลรัฐธรรมนูญอาจสั่งยุบพรรค
การเมืองดังกล่าวได้
ฉบับ 2550
มาตรา ๖๓๖๘ บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภำพตำมรัฐธรรมนูญ
เพื่อล้มล้ำงกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์
ทรงเป็นประมุขตำมรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มำซึ่งอำ นำจในกำร
ปกครองประเทศโดยวิธีกำรซึ่งมิได้เป็นไปตำมวิถีทำงที่บัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญนี้ มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคกำรเมืองใดกระทำ กำรตำมวรรค
หน่งึ ผรูู้เห็นทรำบกำรกระทำ ดังกล่ำวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยกำร
สูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำ ร้องขอให้ศำลรัฐธรรมนูญ
วินิจฉัยสัง่ กำรให้เลิกกำรกระทำ ดังกล่ำว แต่ทัง้ นี้ ไม่กระทบ
กระเทือนกำรดำเนินคดีอำญำต่อผู้กระทำกำรดังกล่ำว
ในกรณีที่ศำลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสัง่ กำรให้พรรคกำรเมืองใด
เลิกกระทำ กำรตำมวรรคสอง ศำลรัฐธรรมนูญอำจสัง่ ยุบพรรค
กำรเมืองดังกล่ำวได้
ในกรณีที่ศำลรัฐธรรมนูญมีคำ สัง่ ยุบพรรคกำรเมืองตำมวรรค
สำม ให้เพิกถอนสิทธิเลือกตัง้ ของหัวหน้ำพรรคกำรเมืองและ
กรรมกำรบริหำรของพรรคกำรเมืองที่ถูกยุบในขณะที่กระทำ ควำมผิด
ตำมวรรคหน่งึ เป็นระยะเวลำห้ำปีนับแต่วันที่ศำลรัฐธรรมนูญมีคำ สัง่
ดังกล่ำว
ฉบับ 2558
มาตรา ๓๑ บุคคลจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือให้ได้มาซึ่งอานาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ มิได้
ในกรณีที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดกระทาการตามวรรคหนึ่ง ผู้พบเห็นการกระทาดังกล่าวย่อมมีสิทธิร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดได้ ในการนี้ ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจสั่งให้เลิกการกระทาดังกล่าวและสั่งการอื่นได้ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ
สรุปเจตนารมณ์รายมาตรา รธน 2558
- คงหลักการเดิมตามมาตรา ๖๘ ของรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐
- มาตรานี้เป็นหลักการที่แสดงเจตจานงว่า บุคคลทั้งหลายมีสิทธิที่จะเข้ามาปกป้องหลักการสูงสุดของรัฐ โดยการให้ผู้พบเห็นมีสิทธิร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาดได้ - มาตรานี้เป็นการยอมรับในหลักการประชาธิปไตยที่ต้องมีกลไก เพื่อป้องกันไม่ให้บุคคลใดอ้างสิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองให้ มาล้มล้างระบอบนี้ได้
- ตัดเรื่องการยุบพรรคการเมืองและการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง ตามวรรคสาม และวรรคสี่ ของมาตรา ๖๘ รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ออก และปรับปรุงให้การร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามมาตรานี้ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ เพราะเป็นเรื่องรายละเอียด
- ตัดคาว่า “พรรคการเมือง” เพื่อให้สอดคล้องกับการตัดเรื่องยุบพรรคการเมือง
- เพิ่มคาว่า “กลุ่มบุคคล” เพื่อให้ครอบคลุมไปถึงกลุ่มบุคคลที่จะถูกร้องขอต่อศาลรัฐธรรมนูญว่ากระทาการตามวรรคหนึ่ง
- เปลี่ยนคาว่า “ผู้ทราบ” ตามมาตรา ๖๘ ของรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ เป็น“ผู้พบเห็น” เพื่อให้มีความหมายที่กว้างขึ้น ทั้งนี้ ผู้พบเห็นไม่จาเป็นต้องพบเห็นการกระทาตามวรรคหนึ่งด้วยตนเองก็ได้
- เพิ่มคาว่า “สั่งการอื่น” เพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจใช้มาตรการชั่วคราว เพื่อระงับ ยับยั้ง หรือดาเนินการอื่นที่จาเป็นเพื่อให้หยุดการกระทาต่าง ๆ ตามวรรคหนึ่ง


ไม่มีความคิดเห็น: